online_merchants_prepare_for_comprehensive_e_services_laws

Share : facebook line twitter fb-messenger

บทความ พ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ เตรียมตัวรับมือ กฎหมาย E-Services ที่ครอบคลุมขึ้น

บทความ www.seolnwza.com



เหล่าคนที่เป็น พ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ ไม่ว่าจะ Youtuber, Influencer ย่อมรู้ดีถึง กฎหมาย E-Services ที่อาจมีผลกระทบโดยตรงต่อการจัดเก็บ ภาษี ล่าสุด ได้มีการผ่านร่าง อนุมัติ เพื่อการ พิจารณา ปรับเพิ่มแล้ว

 

เราทุกคน กำลังอยู่ในช่วงที่สามารถหา รายได้ ผ่านช่องทาง ออนไลน์ โดยที่อาจไม่ต้องมี หน้าร้าน หรือมีก็ได้ ซึ่งหากเพียงเรามี วัตถุดิบ ในการนำเสนอ ผ่านช่องทาง ออนไลน์ เราก็สามารถหา รายได้ ได้ด้วยตนเอง เรียกได้ว่า สื่อ ที่ผ่านช่องทาง ออนไลน์ เหล่านี้ สามารถช่วยเพิ่มอำนวย ความสะดวก แก่วิถีการดำรง ชีวิต ของ มนุษย์ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ง่ายขึ้น แต่แน่นอนว่าเมื่อเราได้ผันตัวมาเป็น พ่อค้า แม่ค้า หรือ นักธุรกิจ ออนไลน์ เมื่อเรามี รายได้ เพิ่มมากขึ้น เรื่องของการจัดเก็บ ภาษี ย่อมต้องมี เป็นเรื่อง ธรรมดา นั่นจึงเป็นเรื่องจำเป็น ที่เราทุกคนต้องรู้จักกับ พ.ร.บE-services หรือการจัดเก็บ ภาษี บริการ อิเล็กทรอนิกส์ แล้ว พ.ร.บ E-services คืออะไรกัน?

 

บริการ ที่เกิดจาก ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ล้วนแล้วมีความเกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ E-services หรือเรียกได้ว่า การจัดเก็บ ภาษี มูลค่าเพิ่ม ทั้งในกรณี บริการ อิเล็กทรอนิกส์ จาก ต่างประเทศ หรือสิ่งที่เกิดขึ้น จากความต้องการ ของการเพิ่ม ความเป็นธรรม ระหว่าง ผู้ประกอบการ ใน ประเทศ และ ต่างประเทศ หรือเรียกได้ว่า เป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพ ของการจัดเก็บ ข้อมูล ภาษี มูลค่า เพิ่ม ให้มี ความเหมาะสม กับ รูปแบบที่ประกอบการ ธุรกิจ ใน ปัจจุบัน

 

โดยมีกลุ่ม ธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กลุ่ม มีเดีย โฆษณา เช่น Google หรือ Facebook, กลุ่ม บริการ เช่น Evernote หรือ บริการ มาร์เก็ตติ้ง, กลุ่ม E-Commerce เช่น Amazon และ eBay, กลุ่ม ดิจิทัล คอนเทนท์ เช่น Joox และ Netflix, กลุ่ม บริการ การเงิน เช่น Paypal, กลุ่ม เกม และ กลุ่ม ที่เกี่ยวกับการ พนัน ออนไลน์

 

ซึ่งล่าสุด ได้มีการเตรียมแก้ไข กฎหมาย E-services โดยจากเดิมที่ บริการ อยู่ในเชิง พาณิชย์ ทั้งต่างประเทศ และ ในไทย จะต้องมีการขึ้น ทะเบียน หรือการเสีย ภาษี มูลค่า เพิ่ม หากในกรณีที่มีรายได้เกิน 1,800,000 บาท โดยในส่วนนี้ ผู้ที่ทำ รายได้ แต่ไม่ได้ทำการ จดทะเบียน บริษัท ก็อาจต้องมีการ ดำเนินการ ในฐานะของ รายได้ ส่วนบุคคล และตอนนี้ ก็ได้มีการแก้ไข เพื่อให้ ครอบคลุม ขึ้น ถึงผู้ทำ Content ออนไลน์ หรือเหล่า Youtuber, Streamer, Influencer และเหล่า พ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ ต้องเข้า ระบบ ภาษี ด้วย รายได้

 

โดยในช่วงสถานการณ์ Covid-19 ที่ผ่านมา นับว่ามีความหลากหลายทั้งทางด้าน ธุรกิจ ออนไลน์ ที่มีการ เจริญ เติบโต มากขึ้น ทำให้ต้องเกิด ความเท่าเทียม ของด้านการเก็บ ภาษี รวมไปถึง พ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ ที่เป็น Youtuber, Streamer และ Influencer ที่อาจจะต้องมีการปรับใช้ ให้ไวขึ้น ภายในปี 2564 นี้

 

นับว่า การใช้ บริการ ในประเทศ ทั้ง เกม, วิดีโอ, เพลง, ภาพยนตร์ รวมถึง ดิจิทัล Content หากมีรายรับเกินที่ 1,800,000 บาท ต่อปี ผู้ประกอบการ เหล่านั้น จะต้องยื่น จดทะเบียน ภาษี เพิ่ม ผ่านทาง เว็บไซต์ ของ กรมสรรพากร  ที่หลายๆ ประเทศ ในช่วงนี้ ก็เริ่มมีการจัดเก็บ ภาษี ผู้ให้บริการ E-services ไปบ้างแล้ว ดังเช่น ประเทศ เกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์

 

อ่านบทความเพิ่มเติม

- Google ประกาศ ผู้รับผลกระทบ โควิด-19 มากสุดคือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหน้าใหม่

- Zoom ยอมร่วมมือกับ FTC เพื่อเสริม ความปลอดภัย กัน ข้อมูลรั่ว

Created : 20/11/2020

บทความที่น่าสนใจ

หลักการดันเพจอย่างไร ให้ติดอันดับ ช่องค้นหา Facebook

Google…อวดรูปแบบหน้าค้นใหม่ เริ่มใช้งานเร็วๆนี้


phone line chat_facebook

A PHP Error was encountered

Severity: Core Warning

Message: PHP Startup: Unable to load dynamic library 'i360.so' (tried: /usr/local/php74/lib/php/extensions/no-debug-non-zts-20190902/i360.so (libhs_runtime.so.5: cannot open shared object file: No such file or directory), /usr/local/php74/lib/php/extensions/no-debug-non-zts-20190902/i360.so.so (/usr/local/php74/lib/php/extensions/no-debug-non-zts-20190902/i360.so.so: cannot open shared object file: No such file or directory))

Filename: Unknown

Line Number: 0

Backtrace: